https://www.gerb.com/technical-insights
info@gerb.com

รางรถไฟบนหินโรยทางที่บริเวณการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟ

ให้ความยืดหยุ่นแก่บริเวณการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟระหว่างสะพานคอนกรีตและแผ่นพื้นในช่วงเข้าสู่สะพานของรางรถไฟบนหินโรยทาง

ในโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่ครอบคลุม บริษัทรถไฟได้ขยายเครือข่ายทางรถไฟรางเดี่ยวให้กลายเป็นรางคู่ รถไฟวิ่งบนรางเดี่ยวแบบไม่มีไฟฟ้าที่มีขนาดความกว้างรางรถไฟ 1,000 มม. เพื่อเชื่อมต่อจุดหมายปลายทางต่างๆ รวมเป็นระยะทาง 4,000 กม. ด้วยวัตถุประสงค์ที่จะใช้ระบบใหม่ที่แทบไม่ต้องมีการบำรุงรักษาและมีความยั่งยืนมากขึ้น GERB จึงจัดหาโซลูชันเพื่อความยืดหยุ่นที่ช่วยลดผลเสียจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟ

ความท้าทาย

ลักษณะเด่นอย่างหนึ่งของเครือข่ายทางรถไฟนี้คือการมีสะพานจำนวนมาก ที่สะพานจะมีบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างระหว่างรางรถไฟบนพื้นดินปกติกับรางรถไฟบนสะพาน ซึ่งก่อให้เกิดต้นทุนการบำรุงรักษาที่ค่อนข้างสูง โดยทั่วไปแล้วสาเหตุหลักของต้นทุนการบำรุงรักษาที่สูงนี้คือการทรุดตัวของดิน ดังนั้นต้องตรวจสอบสภาพคันดินและรางรถไฟในช่วงก่อนเข้าสู่และหลังออกจากสะพาน สาเหตุหลักอีกประการก็คือการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันของความยืดหยุ่นในบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟ ฐานรองรางรถไฟหรือความสามารถในการรับแรงในแนวตั้งของโครงสร้างรองรับรางรถไฟบนพื้นดินปกติต่ำกว่าบนสะพานคอนกรีตถึง 6 เท่า

มีการพัฒนาโซลูชันตามสภาพดิน เช่น แผ่นพื้นในช่วงเข้าสู่สะพานที่วางบนพื้นดินที่ปรับสภาพแล้ว การอัดดิน และแผ่นพื้นในช่วงเข้าสู่สะพานที่วางบนพื้นดินที่มีเข็มฐานรากช่วงพยุง อย่างไรก็ตาม มาตรการเหล่านี้ช่วยลดการทรุดตัวของรางรถไฟเท่านั้น แต่ไม่ได้ปรับความสามารถในการรับแรงของบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟตามต้องการ

โซลูชัน

วัตถุประสงค์ คือ เพื่อลดต้นทุนการบำรุงรักษารางรถไฟและรถไฟ แนวคิดของ GERB สำหรับโซลูชันนี้ คือ ให้การเปลี่ยนถ่ายที่ราบรื่นในบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟโดยใช้แผ่นรองยางโพลียูรีเทนแบบเซลล์ปิดที่ได้มาตรฐาน DIN EN 16432 แนวคิดหลักในที่นี้คือเพื่อชดเชยการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันของความสามารถในการรับแรงของพื้นที่รองรับรางรถไฟตามตัวอย่างที่แสดงที่นี่ ด้วยวิธีนี้ จะเกิดการเปลี่ยนถ่ายที่ราบรื่นกว่าของความสามารถในการรับแรงจากรางรถไฟบนพื้นดินปกติไปสู่สะพาน ซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่น้อยลงของการขจัดในแนวตั้ง เมื่อรถไฟแล่นผ่านบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟ

สำหรับการชดเชยการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันของความสามารถในการรับแรงของพื้นที่รองรับรางรถไฟ GERB เสนอให้ปูแผ่นยางโพลียูรีเทนเต็มผืนทับบนสะพาน ใต้หินโรยทาง ตามที่แสดงดังต่อไปนี้ แผ่นยางนี้เรียกว่า แผ่นรองใต้หินโรยทาง NOVODAMP® (Under Ballast Mats) ซึ่งทำให้ความสามารถในการรับแรงในบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างใต้ทางรถไฟเป็นไปอย่างสม่ำเสมอมากขึ้น

ขึ้นอยู่กับตัวแปรของดินและสภาพเฉพาะของหน้างาน GERB จัดหาโซลูชันที่ผลิตตามความต้องการเป็นแผ่นยางโพลียูรีเทนแบบเซลล์ปิด NOVODAMP® ประเภทต่างๆ ที่มีขนาดและความสามารถในการรับแรงแตกต่างกัน ในกรณีนี้ต้องใช้แผ่นยางโพลียูรีเทนยาว 22 ม. สองประเภท ซึ่งได้รับการออกแบบภายใต้เงื่อนไขว่าต้องรับแรงจากรถไฟที่วิ่งเร็ว 160 กม./ชม.

ข้อได้เปรียบอย่างมากอีกข้อของวิธีนี้คือ ขั้นตอนการติดตั้งที่ง่ายดาย แค่นำแผ่นยางไปปูบนสะพานโดยตรงก่อนที่จะเทหินโรยทางทับลงไปบนแผ่นยาง โดยที่ไม่ต้องมีการเปลี่ยนแปลงส่วนบนสุดของรางเลย ด้วยเหตุนี้ ต้นทุนและเวลาที่ใช้ในการติดตั้งจึงน้อยมากเมื่อเทียบกับวิธีอื่นๆ ในการลดต้นทุนการบำรุงรักษา

ผลลัพธ์

หลังจากติดตั้งแผ่นยางโพลียูรีเทนของ GERB เสร็จแล้ว มีการทดสอบภาคสนามเพื่อตรวจสอบประสิทธิผลของบริเวณการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟที่สำคัญระหว่างโครงสร้างสะพานกับแผ่นพื้นในช่วงเข้าสู่สะพาน มีการวัดการเบี่ยงจากตำแหน่งเดิมในบางจุดเพื่อระบุความสามารถในการรับแรงในแนวตั้งของรางรถไฟก่อนและหลังการติดตั้งแผ่นยาง

 

การวิเคราะห์ข้อมูลที่วัดได้พบว่าการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันของความสามารถในการรับแรงของพื้นที่รองรับรางรถไฟมีความราบเรียบขึ้นหลังจากที่ติดตั้งแผ่นรองใต้หินโรยทางแบบปูเต็มผืน NOVODAMP® ของ GERB

 

ปัจจัยในการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันของความสามารถในการรับแรงของพื้นที่รองรับรางรถไฟระหว่างสะพานกับแผ่นพื้นในช่วงเข้าสู่สะพานได้รับการยืนยันดังต่อไปนี้:

 

ก่อนการติดตั้ง: 2.5 ถึง 4.8
หลังการติดตั้ง: 0.7 ถึง 1.1

 

โซลูชันของ GERB ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าได้ผลเป็นที่ประจักษ์ต่อผู้สังเกตการณ์อิสระ มหาวิทยาลัยในท้องถิ่น และผู้ดำเนินงาน ผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันของความสามารถในการรับแรงของพื้นที่รองรับรางรถไฟโดยรวมของโครงการนี้ลดลงอย่างน้อย 3 เท่า

แชร์โพสต์นี้

แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม

หากคุณต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับหัวข้อนี้
กรุณาติดต่อสอบถามเราได้เสมอ
วิศวกรโครงการของเราจะตอบกลับคุณโดยเร็วที่สุด


    เว็บไซต์นี้ได้รับการปกป้องโดย reCAPTCHA และ Google และมีการใช้ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ เงื่อนไขการให้บริการ

    รางรถไฟบนหินโรยทางที่บริเวณการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟ

    ให้ความยืดหยุ่นแก่บริเวณการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟระหว่างสะพานคอนกรีตและแผ่นพื้นในช่วงเข้าสู่สะพานของรางรถไฟบนหินโรยทาง

    ในโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่ครอบคลุม บริษัทรถไฟได้ขยายเครือข่ายทางรถไฟรางเดี่ยวให้กลายเป็นรางคู่ รถไฟวิ่งบนรางเดี่ยวแบบไม่มีไฟฟ้าที่มีขนาดความกว้างรางรถไฟ 1,000 มม. เพื่อเชื่อมต่อจุดหมายปลายทางต่างๆ รวมเป็นระยะทาง 4,000 กม. ด้วยวัตถุประสงค์ที่จะใช้ระบบใหม่ที่แทบไม่ต้องมีการบำรุงรักษาและมีความยั่งยืนมากขึ้น GERB จึงจัดหาโซลูชันเพื่อความยืดหยุ่นที่ช่วยลดผลเสียจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟ

    รางรถไฟบนหินโรยทางที่บริเวณการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟ

    ให้ความยืดหยุ่นแก่บริเวณการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟระหว่างสะพานคอนกรีตและแผ่นพื้นในช่วงเข้าสู่สะพานของรางรถไฟบนหินโรยทาง

    ในโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่ครอบคลุม บริษัทรถไฟได้ขยายเครือข่ายทางรถไฟรางเดี่ยวให้กลายเป็นรางคู่ รถไฟวิ่งบนรางเดี่ยวแบบไม่มีไฟฟ้าที่มีขนาดความกว้างรางรถไฟ 1,000 มม. เพื่อเชื่อมต่อจุดหมายปลายทางต่างๆ รวมเป็นระยะทาง 4,000 กม. ด้วยวัตถุประสงค์ที่จะใช้ระบบใหม่ที่แทบไม่ต้องมีการบำรุงรักษาและมีความยั่งยืนมากขึ้น GERB จึงจัดหาโซลูชันเพื่อความยืดหยุ่นที่ช่วยลดผลเสียจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟ

    ความท้าทาย

    ลักษณะเด่นอย่างหนึ่งของเครือข่ายทางรถไฟนี้คือการมีสะพานจำนวนมาก ที่สะพานจะมีบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างระหว่างรางรถไฟบนพื้นดินปกติกับรางรถไฟบนสะพาน ซึ่งก่อให้เกิดต้นทุนการบำรุงรักษาที่ค่อนข้างสูง โดยทั่วไปแล้วสาเหตุหลักของต้นทุนการบำรุงรักษาที่สูงนี้คือการทรุดตัวของดิน ดังนั้นต้องตรวจสอบสภาพคันดินและรางรถไฟในช่วงก่อนเข้าสู่และหลังออกจากสะพาน สาเหตุหลักอีกประการก็คือการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันของความยืดหยุ่นในบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟ ฐานรองรางรถไฟหรือความสามารถในการรับแรงในแนวตั้งของโครงสร้างรองรับรางรถไฟบนพื้นดินปกติต่ำกว่าบนสะพานคอนกรีตถึง 6 เท่า

    มีการพัฒนาโซลูชันตามสภาพดิน เช่น แผ่นพื้นในช่วงเข้าสู่สะพานที่วางบนพื้นดินที่ปรับสภาพแล้ว การอัดดิน และแผ่นพื้นในช่วงเข้าสู่สะพานที่วางบนพื้นดินที่มีเข็มฐานรากช่วงพยุง อย่างไรก็ตาม มาตรการเหล่านี้ช่วยลดการทรุดตัวของรางรถไฟเท่านั้น แต่ไม่ได้ปรับความสามารถในการรับแรงของบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟตามต้องการ

    ความท้าทาย

    ลักษณะเด่นอย่างหนึ่งของเครือข่ายทางรถไฟนี้คือการมีสะพานจำนวนมาก ที่สะพานจะมีบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างระหว่างรางรถไฟบนพื้นดินปกติกับรางรถไฟบนสะพาน ซึ่งก่อให้เกิดต้นทุนการบำรุงรักษาที่ค่อนข้างสูง โดยทั่วไปแล้วสาเหตุหลักของต้นทุนการบำรุงรักษาที่สูงนี้คือการทรุดตัวของดิน ดังนั้นต้องตรวจสอบสภาพคันดินและรางรถไฟในช่วงก่อนเข้าสู่และหลังออกจากสะพาน สาเหตุหลักอีกประการก็คือการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันของความยืดหยุ่นในบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟ ฐานรองรางรถไฟหรือความสามารถในการรับแรงในแนวตั้งของโครงสร้างรองรับรางรถไฟบนพื้นดินปกติต่ำกว่าบนสะพานคอนกรีตถึง 6 เท่า

    มีการพัฒนาโซลูชันตามสภาพดิน เช่น แผ่นพื้นในช่วงเข้าสู่สะพานที่วางบนพื้นดินที่ปรับสภาพแล้ว การอัดดิน และแผ่นพื้นในช่วงเข้าสู่สะพานที่วางบนพื้นดินที่มีเข็มฐานรากช่วงพยุง อย่างไรก็ตาม มาตรการเหล่านี้ช่วยลดการทรุดตัวของรางรถไฟเท่านั้น แต่ไม่ได้ปรับความสามารถในการรับแรงของบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟตามต้องการ

    โซลูชัน

    วัตถุประสงค์ คือ เพื่อลดต้นทุนการบำรุงรักษารางรถไฟและรถไฟ แนวคิดของ GERB สำหรับโซลูชันนี้ คือ ให้การเปลี่ยนถ่ายที่ราบรื่นในบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟโดยใช้แผ่นรองยางโพลียูรีเทนแบบเซลล์ปิดที่ได้มาตรฐาน DIN EN 16432 แนวคิดหลักในที่นี้คือเพื่อชดเชยการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันของความสามารถในการรับแรงของพื้นที่รองรับรางรถไฟตามตัวอย่างที่แสดงที่นี่ ด้วยวิธีนี้ จะเกิดการเปลี่ยนถ่ายที่ราบรื่นกว่าของความสามารถในการรับแรงจากรางรถไฟบนพื้นดินปกติไปสู่สะพาน ซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่น้อยลงของการขจัดในแนวตั้ง เมื่อรถไฟแล่นผ่านบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟ

    สำหรับการชดเชยการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันของความสามารถในการรับแรงของพื้นที่รองรับรางรถไฟ GERB เสนอให้ปูแผ่นยางโพลียูรีเทนเต็มผืนทับบนสะพาน ใต้หินโรยทาง ตามที่แสดงดังต่อไปนี้ แผ่นยางนี้เรียกว่า แผ่นรองใต้หินโรยทาง NOVODAMP® (Under Ballast Mats) ซึ่งทำให้ความสามารถในการรับแรงในบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างใต้ทางรถไฟเป็นไปอย่างสม่ำเสมอมากขึ้น

    ขึ้นอยู่กับตัวแปรของดินและสภาพเฉพาะของหน้างาน GERB จัดหาโซลูชันที่ผลิตตามความต้องการเป็นแผ่นยางโพลียูรีเทนแบบเซลล์ปิด NOVODAMP® ประเภทต่างๆ ที่มีขนาดและความสามารถในการรับแรงแตกต่างกัน ในกรณีนี้ต้องใช้แผ่นยางโพลียูรีเทนยาว 22 ม. สองประเภท ซึ่งได้รับการออกแบบภายใต้เงื่อนไขว่าต้องรับแรงจากรถไฟที่วิ่งเร็ว 160 กม./ชม.

    ข้อได้เปรียบอย่างมากอีกข้อของวิธีนี้คือ ขั้นตอนการติดตั้งที่ง่ายดาย แค่นำแผ่นยางไปปูบนสะพานโดยตรงก่อนที่จะเทหินโรยทางทับลงไปบนแผ่นยาง โดยที่ไม่ต้องมีการเปลี่ยนแปลงส่วนบนสุดของรางเลย ด้วยเหตุนี้ ต้นทุนและเวลาที่ใช้ในการติดตั้งจึงน้อยมากเมื่อเทียบกับวิธีอื่นๆ ในการลดต้นทุนการบำรุงรักษา

    โซลูชัน

    วัตถุประสงค์ คือ เพื่อลดต้นทุนการบำรุงรักษารางรถไฟและรถไฟ แนวคิดของ GERB สำหรับโซลูชันนี้ คือ ให้การเปลี่ยนถ่ายที่ราบรื่นในบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟโดยใช้แผ่นรองยางโพลียูรีเทนแบบเซลล์ปิดที่ได้มาตรฐาน DIN EN 16432 แนวคิดหลักในที่นี้คือเพื่อชดเชยการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันของความสามารถในการรับแรงของพื้นที่รองรับรางรถไฟตามตัวอย่างที่แสดงที่นี่ ด้วยวิธีนี้ จะเกิดการเปลี่ยนถ่ายที่ราบรื่นกว่าของความสามารถในการรับแรงจากรางรถไฟบนพื้นดินปกติไปสู่สะพาน ซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่น้อยลงของการขจัดในแนวตั้ง เมื่อรถไฟแล่นผ่านบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟ

    สำหรับการชดเชยการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันของความสามารถในการรับแรงของพื้นที่รองรับรางรถไฟ GERB เสนอให้ปูแผ่นยางโพลียูรีเทนเต็มผืนทับบนสะพาน ใต้หินโรยทาง ตามที่แสดงดังต่อไปนี้ แผ่นยางนี้เรียกว่า แผ่นรองใต้หินโรยทาง NOVODAMP® (Under Ballast Mats) ซึ่งทำให้ความสามารถในการรับแรงในบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างใต้ทางรถไฟเป็นไปอย่างสม่ำเสมอมากขึ้น

    ขึ้นอยู่กับตัวแปรของดินและสภาพเฉพาะของหน้างาน GERB จัดหาโซลูชันที่ผลิตตามความต้องการเป็นแผ่นยางโพลียูรีเทนแบบเซลล์ปิด NOVODAMP® ประเภทต่างๆ ที่มีขนาดและความสามารถในการรับแรงแตกต่างกัน ในกรณีนี้ต้องใช้แผ่นยางโพลียูรีเทนยาว 22 ม. สองประเภท ซึ่งได้รับการออกแบบภายใต้เงื่อนไขว่าต้องรับแรงจากรถไฟที่วิ่งเร็ว 160 กม./ชม.

    ข้อได้เปรียบอย่างมากอีกข้อของวิธีนี้คือ ขั้นตอนการติดตั้งที่ง่ายดาย แค่นำแผ่นยางไปปูบนสะพานโดยตรงก่อนที่จะเทหินโรยทางทับลงไปบนแผ่นยาง โดยที่ไม่ต้องมีการเปลี่ยนแปลงส่วนบนสุดของรางเลย ด้วยเหตุนี้ ต้นทุนและเวลาที่ใช้ในการติดตั้งจึงน้อยมากเมื่อเทียบกับวิธีอื่นๆ ในการลดต้นทุนการบำรุงรักษา

    ผลลัพธ์

    หลังจากติดตั้งแผ่นยางโพลียูรีเทนของ GERB เสร็จแล้ว มีการทดสอบภาคสนามเพื่อตรวจสอบประสิทธิผลของบริเวณการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟที่สำคัญระหว่างโครงสร้างสะพานกับแผ่นพื้นในช่วงเข้าสู่สะพาน มีการวัดการเบี่ยงจากตำแหน่งเดิมในบางจุดเพื่อระบุความสามารถในการรับแรงในแนวตั้งของรางรถไฟก่อนและหลังการติดตั้งแผ่นยาง

     

    การวิเคราะห์ข้อมูลที่วัดได้พบว่าการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันของความสามารถในการรับแรงของพื้นที่รองรับรางรถไฟมีความราบเรียบขึ้นหลังจากที่ติดตั้งแผ่นรองใต้หินโรยทางแบบปูเต็มผืน NOVODAMP® ของ GERB

     

    ปัจจัยในการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันของความสามารถในการรับแรงของพื้นที่รองรับรางรถไฟระหว่างสะพานกับแผ่นพื้นในช่วงเข้าสู่สะพานได้รับการยืนยันดังต่อไปนี้:

     

    ก่อนการติดตั้ง: 2.5 ถึง 4.8
    หลังการติดตั้ง: 0.7 ถึง 1.1

     

    โซลูชันของ GERB ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าได้ผลเป็นที่ประจักษ์ต่อผู้สังเกตการณ์อิสระ มหาวิทยาลัยในท้องถิ่น และผู้ดำเนินงาน ผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันของความสามารถในการรับแรงของพื้นที่รองรับรางรถไฟโดยรวมของโครงการนี้ลดลงอย่างน้อย 3 เท่า

    ผลลัพธ์

    หลังจากติดตั้งแผ่นยางโพลียูรีเทนของ GERB เสร็จแล้ว มีการทดสอบภาคสนามเพื่อตรวจสอบประสิทธิผลของบริเวณการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางรถไฟที่สำคัญระหว่างโครงสร้างสะพานกับแผ่นพื้นในช่วงเข้าสู่สะพาน มีการวัดการเบี่ยงจากตำแหน่งเดิมในบางจุดเพื่อระบุความสามารถในการรับแรงในแนวตั้งของรางรถไฟก่อนและหลังการติดตั้งแผ่นยาง

     

    การวิเคราะห์ข้อมูลที่วัดได้พบว่าการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันของความสามารถในการรับแรงของพื้นที่รองรับรางรถไฟมีความราบเรียบขึ้นหลังจากที่ติดตั้งแผ่นรองใต้หินโรยทางแบบปูเต็มผืน NOVODAMP® ของ GERB

     

    ปัจจัยในการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันของความสามารถในการรับแรงของพื้นที่รองรับรางรถไฟระหว่างสะพานกับแผ่นพื้นในช่วงเข้าสู่สะพานได้รับการยืนยันดังต่อไปนี้:

     

    ก่อนการติดตั้ง: 2.5 ถึง 4.8
    หลังการติดตั้ง: 0.7 ถึง 1.1

     

    โซลูชันของ GERB ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าได้ผลเป็นที่ประจักษ์ต่อผู้สังเกตการณ์อิสระ มหาวิทยาลัยในท้องถิ่น และผู้ดำเนินงาน ผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่าการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหันของความสามารถในการรับแรงของพื้นที่รองรับรางรถไฟโดยรวมของโครงการนี้ลดลงอย่างน้อย 3 เท่า

    แชร์โพสต์นี้

    แชร์โพสต์นี้

    แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม

    หากคุณต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับหัวข้อนี้
    กรุณาติดต่อสอบถามเราได้เสมอ
    วิศวกรโครงการของเราจะตอบกลับคุณโดยเร็วที่สุด


      เว็บไซต์นี้ได้รับการปกป้องโดย reCAPTCHA และ Google และมีการใช้ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ เงื่อนไขการให้บริการ

      แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม

      หากคุณต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับหัวข้อนี้
      กรุณาติดต่อสอบถามเราได้เสมอ
      วิศวกรโครงการของเราจะตอบกลับคุณโดยเร็วที่สุด


        เว็บไซต์นี้ได้รับการปกป้องโดย reCAPTCHA และ Google และมีการใช้ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ เงื่อนไขการให้บริการ

        Scroll to Top
        Scroll to Top